การศึกษา
》ปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตรพัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
》ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต (การประชาสัมพันธ์และการโฆษณา) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ความเชี่ยวชาญ
》การวิจัยการสื่อสารภาพลักษณ์
》การวิจัยนิเทศศาสตร์/ประชาสัมพันธ์/การท่องเที่ยว
》การจัดการภาวะวิกฤต ความเสี่ยง และการบริหารประเด็น
》การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาด
》การสร้างสรรค์สื่อประชาสัมพันธ์และกิจกรรมพิเศษ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
》จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)
》เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ (บ.ภ.)
รางวัล
》เกียรติบัตร ได้รับการสรรหาเสนอชื่อเข้ารับรางวัลเชิดชูเกียรติดวงประทีปแห่งเกษมด้านการจัดการเรียนการสอน ประจำปีการศึกษา 2556 จากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
》ประกาศนียบัตร เป็นผู้มีความโดดเด่นด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของคณะนิเทศศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2557 จากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ผลงานวิชาการ
หนังสือวิชาการ
》สิริวิมล ปัณณราช (เทพหัสดิน).(2559). การจัดการภาวะวิกฤตและประเด็นปัญหา (Crisis and Issue Management). กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 222 หน้า.
บทความ
》สุเทพ เดชะชีพ พิเชษฐ พิมพ์เจริญ, ชลลดา ปัณณราช (สิริวิมล เทพหัสดิน) และนิภากร กำจรเมนุกูล.(2546) “ความคาดหวังของนักวิชาชีพประชาสัมพันธ์ที่มีต่อบัณฑิตสาขาวิชาประชาสัมพันธ์”วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2546 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
》สุเทพ เดชะชีพ , ชลลดา ปัณณราช (สิริวิมล เทพหัสดิน) และนิภากร กำจรเมนุกูล. (2555). “การเปิดรับข่าวสารความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนที่มีต่อการอนุรักษ์คลองแสนแสบ”. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ มหาวิทยาลัยรังสิต.
》สุเทพ เดชะชีพ , สิริวิมล ปัณณราช (เทพหัสดิน) นฤวรรณ เรืองโรจน์ และรจนา พึ่งสุข. (2555). “การประเมินประสิทธิผลการประชาสัมพันธ์โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา” (โครงการนำร่อง: Pilot Project)”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยสยาม.
》สุเทพ เดชะชีพ , สิริวิมล ปัณณราช (เทพหัสดิน), ณฐมน วันวิชัย, นฤวรรณ เรืองโรจน์ และรจนา พึ่งสุข. (2556). “กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบ โครงการต้นแบบ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา” กรณีชุมชนเทพลีลา” การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านอุตสาหกรรมบริการ และนวัตกรรมภาษา ครั้งที่ 1 : วัฒนธรรมและภาษาที่สามกับประชาคมอาเซียน (ด้านอุตสาหกรรมบริการ) จัดโดย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โครงการจัดตั้งภาควิชาอุตสาหกรรมบริการและนวัตกรรมภาษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ร่วมกับบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ฝ่ายภาษาและนวัตกรรมการสอน กองอบรมภาษาที่สามและวัฒนธรรมนานาชาติ.
》สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และสิริวิมล ปัณณราช (เทพหัสดิน). (2557). “การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสารการนำเสนอเนื้อหา และความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบ กรณีศึกษาชุมชน เทพลีลา-ชุมชนวัดตึก”.วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ มหาวิทยาลัยสยาม.
》สิริวิมล เทพหัสดิน, รจนา พึ่งสุข และเอกฉัตร ตันศิริ. (2561).การสร้างภาพลักษณ์ห้องน้ำสาธารณะเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย.รายงานสืบเนื่องจากโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 ประจำปี 2561 “Gastronomy, Hospitality and Culture in ASEAN”(หน้า27-41).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ร่วมกับสถาบันการศึกษา และบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน).
》Ekachat Tansiri and Sirivimol Devahastin. (2019).Media Exposure, Utilization, Satisfaction, and Need for Service Business Information of Consumers in the Digital Economy Era. Journal of Educational and Social Research, Rome, Italy, 9(3). (September 2019): 90-100. (Scopus)