ผศ.ดร.ณัฐพงศ์ แย้มเจริญ

การศึกษา

ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น  

(ดุษฎีนิพนธ์ระดับยอดเยี่ยม)

ปริญญาโท     นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.)

วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง  (วิทยนิพนธ์ระดับยอดเยี่ยม)

ปริญญาตรี     อักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) ภาษาไทย  

(ทุนโครงการผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาษาและวรรณคดีไทย)

ความเชี่ยวชาญ

》 วจนลีลาศาสตร์  

     การเขียนบทและการเล่าเรื่องผ่านสื่อ  

     Drama Based Learning เพื่อการเปลี่ยนแปลง

     Smart  Start Up  Idea

     Entrepreneur Mindset

รางวัลที่ได้รับ

        นักวิจัยดีเด่นสายสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตปีการศึกษา 2556

         รางวัลพิเศษแผนประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้รถไฟใต้ดิน การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 2545

       บทละครดีเด่น สดใสอวอร์ด ปี 2542

ผลงานวิชาการ

งานวิจัย

งานวิจัย Co Loving Space โครงการวิจัยเพื่อสร้างการตระหนักรู้และเข้าใจในสิทธิเสรีภาพบนพื้นที่โซเซียลมีเดียของเยาวชนและครอบครัว (2565) ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก สำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์

งานวิจัยเรื่อง เทคนิคการสร้างสรรค์โฆษณาทางยูทูปยอดนิยมในประเทศไทยยุคดิจิทัล (2560) ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

งานวิจัยเรื่อง รูปแบบการสื่อสารด้านพุทธศาสนาสู่คนรุ่นใหม่ในประเทศไทย (2556) ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากวุฒิสภา

บทความวิจัย

ภาษาไทย

》 ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และกรกช แสนจิตร.การสร้างการตระหนักรู้และเข้าใจร่วมกันในสิทธิเสรีภาพบนพื้นที่โซเซียลมีเดียของเยาวชนและผู้ปกครอง.วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2566) หน้า 31-51

เปรมินทร์ หงษ์โต  สุเทพ เดชะชีพ  ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และนิภากร กำจรเมนุกูล เทคนิคการสร้างสรรค์โฆษณาทางยูทูปยอดนิยมในประเทศไทยยุคดิจิทัล วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2565) หน้า 160 – 171

เตชิต หอมจันทร์ และ ณัฐพงค์ แย้มเจริญ. (2562). พฤติกรรมการเปิดรับและความพึงพอใจของผู้ชมต่อรูปแบบรายการหน้ากากนักร้อง (The Mask Singer) ในเขตกรุงเทพมหานคร.วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม – เมษายน 2562  

สัมฤทธิ์  ภูกงลี   ปรีชาวุฒิ  อภิระติง  และณัฐพงค์ แย้มเจริญ (2561). มายาคติในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องเอคโค่จิ๋วก้องโลก (Mythologies in Thai Animation Film : Echo planet). วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม – เมษายน 2561 หน้า 65 – 76 

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และคณะ, (2560). รูปแบบการสื่อสารด้านพุทธศาสนาสู่คนรุ่นใหม่ในประเทศไทย. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหากุฎราชวิทยาลัย ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม – มิถุนายน 2561 

ภาษาอังกฤษ

Samrit Bongkonglee   Preechawut Apirationg  and Nattapong Yamcharoen. (2018). The Creation of Thai Animation : The Analysis Through the System Theory. Journal of Engineering and Applied Sciences 13 (13) : 4961-4970, 2018   

Pitipong Pimpiset  Pat  Kotchapakdee and Nattapong Yamcharoen. (2018). Lao Animation : The Development of Production Techniques from the Beginning Unit Now. Journal of Engineering and Applied Sciences 13(13) : 6138-6145, 2018  

Nattapong Yamcharoen (2015).Buddhist Communication Styles for New Generation in Present-Day Thailand .Asian Science; Vol. 11, No.2 ; 2015  PP. 174 – 180.Canadian Center of Science and Education

Nattapong Yamcharoen  Souneth Phothisane and Donruethai  Kovathanakul (2013). The Guide to Developing Lao Film into the Industrial System” European Journal of Scientific Research. Vol.114 No.4 November 2013 pp.556-573 

บทความวิชาการ

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ กรกช แสนจิตร และสุเทพ เดชะชีพ.การใช้พื้นที่บนโซเซียลมีเดียของเยาวชนและผู้ปกครองไทยในครอบครัวไทยยุคดิจิทัล.วารสารนิเทศสยามปริทัศน์.ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2566) หน้า 100 – 112  

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และอภิเชฐ์ ธนินรัฏภัทร์ (2565) การถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณาด้วยเทคนิค Bullet Time Shot กรณีศึกษาผ้าอนามัยแบบกางเกง.รายงานสืบเนื่องจากการประชุมงานวิชาการและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ครั้งที่ 12 วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และอภิเชฐ์ ธนินรัฏภัทร์ (2564) การปรับเปลี่ยนของโมเดลลิ่งไทยในยุคดิจิทัล.รายงานสืบเนื่องจากการประชุมงานวิชาการและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ครั้งที่ 11 วันที่ 9 กรกฎาคม 2564 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

พิชพล เงินเรืองโรจน์ และณัฐพงค์ แย้มเจริญ (2564) แนวทางการสื่อสารการท่องเที่ยวผ่านเพจเรือนไทยบางแม่หม้ายโฮมสเตย์ในสถานการณ์โควิด-19 รายงานสืบเนื่องจากการประชุมงานวิชาการและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ครั้งที่ 11 วันที่ 9 กรกฎาคม 2564 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

สุเทพ เดชะชีพ รวิตา เหล็กกล้า และณัฐพงค์ แย้มเจริญ (2564). การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยซีรีส์วายในอุตสาหกรรมบันเทิง รายงานสืบเนื่องจากการประชุมงานวิชาการและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ครั้งที่ 11 วันที่ 9 กรกฎาคม 2564 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และคณะ, (2562). การสร้างเครือข่ายชุมชนและการสื่อสารการตลาดเพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพชุมชนวัดปากบ่อในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่นพลัส. ปีที่ 2 วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2562 

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ มนัสกานต์ อินทร์สังข์ และพิณทิพย์ สัตย์เพริศพราย (2562) . Simple Song : เสียงแห่งปวงประชา:ละครแบบมีส่วนร่วมเพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษาต้นแบบ (Creative research “Simple Song: Sound of the people”: Participatory theatre for learning of role- model student.). นำเสนอบทความในการประชุมวิชาการ (Proceedings) งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางด้านนิเทศศาสตร์ ครั้งที่ 9 วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยสยาม.  (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และปิยะพล รอดคำดี (2562) มหรสพโขน : ความขัดแย้งบนความแตกต่างของระบบการให้คุณค่าจากคนต่างยุคKhon : the conflicting on the differences of value setting from people in a different generation. นำเสนอบทความในการประชุมวิชาการ (Proceedings) งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางด้านนิเทศศาสตร์ ครั้งที่ 9 วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และเปรมินทร์ หงษ์โต. (2561), เทคนิคการสร้างสรรค์งานโฆษณายอดนิยมทางยูทูปปี พ.ศ. 2560 ในประเทศไทย.”. นำเสนอบทความในการประชุมวิชาการ (Proceedings) งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางด้านนิเทศศาสตร์ ครั้งที่ 8 วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

ณัฐพงค์  แย้มเจริญ (2557).จากสะพานอุตตามนุสรณ์ถึงสะพานไม้ไผ่ลูกบวบ :ภาพสะท้อนวิถีชีวิตชุมชนไทย-มอญ สองฝั่งแม่น้ำซองกาเลียที่เปลี่ยนแปลง.วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2557 หน้า 89 – 102 

ณัฐพงค์  แย้มเจริญ (2557). “ภาพยนตร์ลาว : วัฒนธรรมสมัยนิยมของคนลาวรุ่นใหม่ภายใต้อิทธิภาพภาพยนตร์ไทย” การประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม 2557 เรื่องวัฒนธรรมสมัยนิยม ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 28 กรกฎาคม 2557 (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ และคณะ (2557) งานสร้างสรรค์เรื่อง “จากบทละครเรื่องคนดีที่เสฉวนสู่คนดีที่ดำเนิน : การสร้างสรรค์ละครเวทีเพื่อสื่อ “สาร” ภายใต้ความขัดแย้งทางสังคมไทย”การประชุมวิชาการระดับชาติ การวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ ครั้งที่ 4 จัดโดยคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม วันที่ 3  มิถุนายน 2557 (Proceeding)

ณัฐพงค์  แย้มเจริญ (2556) ภาพสะท้อนทางสังคมลาวจากอดีตสู่อนาคต : ศึกษาผ่านสถานภาพโรงภาพยนตร์ในนครหลวงเวียงจันทน์” การประชุมวิชาการนิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที 1 วันที่ 14 สิงหาคม 2556 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ (2556) หนังลาวยังก้าวไม่ไกล แต่จะไปให้ถึง การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี วันที่ 9 สิงหาคม 2556 (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ (2556). สภาพภาพยนตร์ลาว : ผู้กำกับ-ภาพยนตร์-โรงภาพยนตร์-ผู้ชมในยุคอุตสาหกรรมบันเทิง ค.ศ.2008 – 2012 การประชุมวิชาการระดับชาติ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ครั้งที่ 3 ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยสยาม (Proceeding)

ณัฐพงค์  แย้มเจริญ (2556) ภาพยนตร์ลาว :การสำรวจสภาพผู้กำกับ-ภาพยนตร์-โรงภาพยนตร์-ผู้ชม ในยุคอุตสาหกรรมบันเทิง ค.ศ.2008 – 2010 ในงาน The 5th  NPRU National Conference 2013 วันที่ 18 – 19 กรกฎาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม (Proceeding)

ณัฐพงค์ แย้มเจริญ (2555) ความร่วมสมัยที่ปรากฎในการแสดงขั้นสูง “โขนศาลาเฉลิมกรุง” ในการประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง ศิลปกรรม วัฒนธรรมและการออกแบบ ครั้งที่ 1 โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 5 ตุลาคม 2555 (Proceeding)

ณัฐพงค์  แย้มเจริญ (2554). ฮูปเงาร่วมทุนไทย-ลาว “สบายดีหลวงพระบาง” : สื่อล่าอาณานิคมด้วยวัฒนธรรมยุคโลกาภิวัตน์ ในงานสัมมนาเครือข่ายวิชาการ-วิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 5 เรื่องมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ไทย : ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา ก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ 28 – 29 กรกฎาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก (Proceeding)

ภาษาอังกฤษ

Qiuying Yin Homhuan Buarabha and Nattapong Yamcharoen (2023) The values of Zhuang brocade in Guangxi. Proceeding in Far 9th International Academic Conference on Fine and Applied Arts 1-2 September 2033 at Faculty of Fine and Applied Arts Khon Kaen University. Page 1023- 1030

TIAN JUN Pitipong Pimpiset and Nattapong Yamcharoen.(2023) The features of cinematic language on Tibetan films directed by Pema Tseden. Proceeding in Far 9th International Academic Conference on Fine and Applied Arts 1-2 September 2033 at Faculty of Fine and Applied Arts Khon Kaen University. Page 1115 – 1132

Ruogu Xu Pitipong Pimpiset and Nattapong Yamcharoen (2023) A study On The Space Of Youth Film in Mainland China. Proceeding in Far 9th International Academic Conference on Fine and Applied Arts 1-2 September 2033 at Faculty of Fine and Applied Arts Khon Kaen University. Page 1133 – 1144

Keran Wang , Pat Kotchapakdee, Nattapong Yamcharoen  (2022) The Further Inheritance of the Traditional Chinese Opera Performance “Pingdiao Tooth Jugglery” in Ninghai, Zhejiang Province,China. Proceeding in FAR 8th International Academic Conference on Fine and Applied Arts ART INTERGRATION 3-4 September 2022. P. 776-782

Arunee Sriruksa, Nattapong Yamcharoen, Darunee Bunkrong (2022).Contents and Methods in Ethnic Identity Studies: Review of Research Proceeding in FAR 8th International Academic Conference on Fine and Applied Arts ART INTERGRATION 3-4 September 2022. P. 1087-1097

Meilin Li, Arunee Sriruksa, Nattapong Yamcharoen  (2022).Reflection of social function of Taishan shadow puppetry from the perspective of folklore Meilin Li, Arunee Sriruksa, Nattapong Yamcharoen Proceeding in FAR 8th International Academic Conference on Fine and Applied Arts ART INTERGRATION 3-4 September 2022. P. 1149-1158

Keran Wang, Pat Kotchapakdee, Nattapong Yamcharoen (2021). Roles of Contemporary Chinese Peking Opera Male Dan. Proceeding of The International Academic Conference on Fine and Applied Arts. 20 – 21 August 2021, Khon kaen University

Nattapong Yamcharoen (2013) An Analysis of The Vientiane 450 years Anniversary Logo : Reflections of Lao’s Culture and Society. The Asian Conference on Cultural Studies 2013. Ramada Hotel, Osaka Japan, 24 – 26 May 2013

Nattapong Yamcharoen (2013).Luang Prabang Film Festival: 3 Years of Strength with the Power of Movie Fanatics to Enhance Filming in Southeast Asia.” Film Asia 2013-The Second Asian Conference on Film and Documentary, Ramada Hotel Osaka Japan, 8-10 November 2013.PP.36-48 (Proceeding)

Nattapong  Yamcharoen  (2012).Lao film Developing Approach to Industrial System”. The Asian Conference on Film and Documentary 2012. Ramada Hotel, Osaka Japan, 2-4 November 2012 PP.36 – 45 (Proceeding)

ผลงานสร้างสรรค์

2544   เขียนบทละครเวที เจ้าหญิงนิทรา (Sleeping Beauty :The Dance Version)

ณ Mcc Hall เดอะมอลล์บางกะปิ  26 – 28 ตุลาคม 2544 หน้าพระที่นั่ง      

พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาธินัดดามาตุ

2545   สร้างสรรค์และอ่านบทกวีคีตการชุดดั่งพู่กันเนรมิต (อัลบั้มเทปคาสเซ็ท)

คณะนิเทศศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2546   สร้างสรรค์บทโฆษณาทางโทรทัศน์ชุด Crossword ความยาว 30  วินาที  ของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

2546   สร้างสรรค์บทโฆษณาทางวิทยุของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ความยาว 15 วินาที

(จำนวน 2 ตัว)

2547   เขียนบทการแสดง Dansical ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

มจ.สิรวัณวลี มหิดล เป็นตัวแทนพระองค์เสด็จเป็นประธานเมื่อ 29-31 มกราคม 2547 และออกอากาศเทปบันทึกภาพการแสดงทางช่อง 3

2550   การแสดงเรื่อง  World’s Greatest Fantasy Dansical ลีลามหัศจรรย์นิทาบันลือโลก แสดงที่ SFW World Cinema ชั้น 7  เซ็นทรัลเวิลด์วัน 1 – 3 มิถุนายน 2550 และออกอากาศเทปบันทึกภาพการแสดงทางช่อง 5

2552    การแสดงชุด Dansical The Nutcracker  จัดแสดงที่โรงละครอักษรา

2555    การแสดงชุด Beautiful Siam จัดแสดงที่โรงละครอักษรา

2557   การแสดงชุด สุดสาคร เดอะมิวสิคัล จัดแสดงมหิดลสิทธาคาร ร่วมกับ

            คณะดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

2560   การแสดงเทิดพระเกียรติชุดเสียงแห่งปวงประชา สนับสนุนโดยสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และร่วมประพันธ์เพลง “เสียงแห่งปวงประชาเกษม”

2564   ประพันธ์เพลงประจำสถาบันมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต “เกษมบัณฑิตนิรันดร์” และ “ดวงประทีบเกษม”